วิวัฒนาการล่าสุดของนักวิทยาศาสตร์ไทยเกี่ยวกับการสร้างสมดุลของระบบภูมิคุ้มกัน
ว่าด้วยเรื่อง"ข้อเสื่อมและรูมาตอยด์"

ข้อเสื่อม เกิดจากการสึกกร่อนของกระดูกอ่อน ผิวข้อ และมีกระดูกงอกอยู่ที่ขอบข้อ ซึ่งกระดูกอ่อนที่ผิวข้ออาจลอกหลุดออก ทำให้ข้อเคลื่อนไหวได้น้อยลง มีอาการปวดในข้อและข้อผิดรูปร่าง ส่งผลให้เกิดความไม่มั่นคงและรับน้ำหนักตัวไม่ไหว สาเหตุหลักของการเกิดข้อเสื่อมมักเป็นไปตามอายุ แต่อาจเป็นผลมาจากสาเหตุกรรมพันธุ์ และสาเหตุอื่นๆ ได้แก่ การใช้ข้อทำงานมากเกินไป หรือเป็นภายหลังจากการเกิดข้ออักเสบชนิดอื่น ๆ แม้ว่าภาวะน้ำหนักตัวเกินไม่ได้เป็นสาเหตุของโรคข้อเสื่อมโดยตรง แต่ก็เป็นปัจจัยเสี่ยงอย่างหนึ่งที่ส่งเสริมให้เป็นมากขึ้น
อาการของข้อเสื่อม?
อาการข้อเสื่อมมักเริ่มจากอาการปวดตอนเช้า หากเป็นมากจะรู้สึกปวดมากขึ้นในขณะออกกำลังกาย ขยับข้อได้น้อยลงเวลาขยับเกิดเสียงกระดูกเสียดสีกัน ข้อโตขึ้นเนื่องจากมีการสร้างกระดูกที่งอกบริเวณขอบข้อ เอ็นและเนื้อเยื่อหนาตัวขึ้นจนทำให้เกิดข้อผิดรูป กล้ามเนื้อรอบข้ออ่อนแรง เวลาเคลื่อนไหวจะทำให้ปวดมากขึ้น ลักษณะสำคัญของโรคนี้คือ มีการสูญเสียเนื้อกระดูกอ่อนผิวข้ออย่างมากจากการที่ถูกสลยโดยสารสื่อกลางบางอย่าง ดังนั้นการลดการอักเสบ ลดการสลายตัวและเพิ่มการสร้างกระดูกอ่อน จะช่วยลดอาหารปวดข้อและทำให้ข้อทำงานได้ดีขึ้นในขณะที่
ข้ออักเสบรูมาตอยด์ เป็นโรคเรื้อรังชนิดหนึ่งที่ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายสร้างภูมิขึ้นมาต่อต้านเนื้อเยื่อบริเวณข้อ
ข้ออักเสบจากรูมาตอยด์อาการเป็นอย่างไร?
อาการระยะแรกจะปวดข้อ ข้อบวม โดยเฉพาะข้อนิ้วมือ และเป็นทั้งสองข้างพร้อมกัน ส่วนที่เท้ามักเป็นตรงข้อเทา้ ถ้าอาการรุนแรงจะบวมมาก และกระดูกถูกทำลายจนมีอาการหงิกงอและพิการในที่สุด
อาการของข้อเสื่อม?
อาการข้อเสื่อมมักเริ่มจากอาการปวดตอนเช้า หากเป็นมากจะรู้สึกปวดมากขึ้นในขณะออกกำลังกาย ขยับข้อได้น้อยลงเวลาขยับเกิดเสียงกระดูกเสียดสีกัน ข้อโตขึ้นเนื่องจากมีการสร้างกระดูกที่งอกบริเวณขอบข้อ เอ็นและเนื้อเยื่อหนาตัวขึ้นจนทำให้เกิดข้อผิดรูป กล้ามเนื้อรอบข้ออ่อนแรง เวลาเคลื่อนไหวจะทำให้ปวดมากขึ้น ลักษณะสำคัญของโรคนี้คือ มีการสูญเสียเนื้อกระดูกอ่อนผิวข้ออย่างมากจากการที่ถูกสลยโดยสารสื่อกลางบางอย่าง ดังนั้นการลดการอักเสบ ลดการสลายตัวและเพิ่มการสร้างกระดูกอ่อน จะช่วยลดอาหารปวดข้อและทำให้ข้อทำงานได้ดีขึ้นในขณะที่
ข้ออักเสบรูมาตอยด์ เป็นโรคเรื้อรังชนิดหนึ่งที่ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายสร้างภูมิขึ้นมาต่อต้านเนื้อเยื่อบริเวณข้อ
ข้ออักเสบจากรูมาตอยด์อาการเป็นอย่างไร?
อาการระยะแรกจะปวดข้อ ข้อบวม โดยเฉพาะข้อนิ้วมือ และเป็นทั้งสองข้างพร้อมกัน ส่วนที่เท้ามักเป็นตรงข้อเทา้ ถ้าอาการรุนแรงจะบวมมาก และกระดูกถูกทำลายจนมีอาการหงิกงอและพิการในที่สุด
วิวัฒนาการล่าสุดของนักวิทยาศาสตร์ไทยเกี่ยวกับกับการสร้างสมดุลของระบบภูมิคุ้มกัน
ภูมิคุ้มกันสมดุลกับการดูแล''ข้อเสื่อม และ ข้ออักเสบจากรูมาตอยด์''
ทำไมผู้ที่ทานผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร BIM100(บิมร้อย,บิม100) แล้วจึงมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นกว่าจากเดิม?
ปัญหาเหล่านี้เกิดจากเม็ดเลือดขาว หลั่งสารที่ก่อให้เกิดอาการอักเสบ IL-1B , TNF-a , IL-6 และ IL-17 มากเกินไป คณะนักวิจัย Operation BIM ได้วิจัยและพัฒนาสารสเริมประสิทธิภาพจากสารมังคุด ถั่วเหลือง ฝรั่ง งาดำ ใบบัวบก จนได้แคปซูลเสริมอาหารที่พิสูจน์โดยศูนย์วิจัยเทคโนโลยีชีวการแพทย์แล้วว่าสามารถลดการหลั่งสารTNF-a , IL-6 และ IL-17 ด้วยประสิทธิภาพสูง นอกจากนี้สารสกัดทั้ง 5 ชนิดที่ผสมอยู่ในแคปซูล ยังสามารถเสริมสร้างคอลลาเจนและกระดูกอ่อนเมื่อมีการใช้อย่างต่อเนื่อง
การดูแลอาการของ "ข้อเสื่อม"
- การควบคุมน้ำหนักน้ำหนักเป็นหนึ่งในสาเหตุใหญ่ของอาการข้อเสื่อม เพราะยิ่งน้ำหนักตัว มากเท่าไรร่างกายก็ยิ่งต้องรับภาระมากเท่านั้น
- ปรับเปลี่ยนอิริยาบถ ไม่ว่าจะชอบนั่งยอง ๆ นั่งกับพื้น ผุดลุกผุดนั่งบ่อย ๆ หรือการขึ้นบันไดเป็นประจำ เหล่านี้ก็ทำให้ข้อเข่าเสียได้บางคนชอบยืนทิ้งน้ำหนักข้างเดียวซึ่งเป็นการสร้างภาระให้กับข้อข้างนั้นแทนที่จะลงน้ำหนักสองขาเท่า ๆ กัน
- การออกกำลังกาย สามารถทำได้โดยการเสริมสร้างกล้ามเนื้อ เพราะกล้ามเนื้อเป็นส่วนสำคัญในการแบ่งเบาภาระต่าง ๆ ของข้อต่อเมื่อร่างกายเคลื่อนไหวรุนแรง
(แอโรบิค)
(การเดินในน้ำ)
โรคข้อเสื่อมอาจไม่ได้เกิดกับคนทุกคน แต่ผู้ที่มีปัจจัยต่อไปนี้มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคข้อเสื่อม
• อายุมากขึ้น
• เพศหญิง
• อ้วน
• กิจกรรมที่เกิดแรงกระแทกที่ข้ออย่างซ้ำ ๆ หรือมากเกินไป
• กรรมพันธุ์
• กระดูกผิวข้อแตกจากภัยอันตราย
• โรคข้ออักเสบต่าง ๆ
• ความผิดปกติในการรับรู้บริเวณข้อ
วิธีดูแลอาการข้อเข่าเสื่อม
การที่จะทำให้ผู้ป่วยชะลอการเสื่อมของข้อเข่าลงได้ สิ่งสำคัญที่ต้องทราบก็คือ ผู้ป่วยที่มีความรุนแรงของโรคเข่าเสื่อมที่น้อยหรือปานกลางเท่านั้น ที่สามารถปฏิบัติตัว หรือรักษาวิธีเหล่านี้ได้ผลเป็นที่พอใจ ดังนี้
• หลีกเลี่ยงท่างอข้อเข่ามาก ๆ (นั่งยอง ๆ นั่งพับเพียบ นั่งขัดสมาธิ และนั่งคุกเข่า)
• หลีกเลี่ยงการขึ้นลงบันไดหลาย ๆ ชั้น อย่างบ่อย ๆ
• ควบคุมน้ำหนักตัวให้ดี ไม่ให้อ้วน
• หมั่นขยันบริหารกล้ามเนื้อรอบข้อเข่าอยู่เสมอ โดยเฉพาะกล้ามเนื้อด้านหน้าของต้นขา
• ทานยาแก้อักเสบของข้อเมื่อจำเป็น หรือทานเป็นครั้งคราว
• ในรายที่ข้อโก่งผิดรูป และหรือมีการแกว่งของข้อได้มากกว่าปกติ เมื่อต้องเดินทาง ควรสวมปลอกสวมข้อเข่า ชนิดมีเหล็กสปริงที่ด้านข้างของข้อเข่าทั้งด้านในและด้านนอก
• ในรายที่ปวดเข่าบ่อย หรือเดินทรงตัวไม่ดี ควรใช้ไม้เท้าช่วยเมื่อต้องเดินเป็นระยะทางไกล หรือเดินในที่ไม่เรียบ (ควรถือไม้เท้ามือตรงข้ามกับเข่าที่ปวด)
ปรึกษาปัญหาสุขภาพ ติดต่อ
ศูนย์จำหน่ายผลิตภัณฑ์ BIM100(บิมร้อย) โทร 084 7651841
ไอดีไลน์ bim100k หรือ bim100d